อุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บในช่องปาก

การรักษามะเร็งด้วยวิธี
เซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดที-เซลล์ แบบลูกผสมที่มีความจำเพาะต่อโปรตีนของเซลล์มะเร็งเต้านม

รายละเอียดผลงาน

     ผู้ประดิษฐ์ได้พัฒนา “อุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บในช่องปาก” จากการรักษาทางจิตรเวชด้วยไฟฟ้า (ECT Mouthguard) เพื่อป้องกันหรือลดการบาดเจ็บในช่องปากต่างๆ เช่น ฟันแตก ฟันหลุด บาดแผล เลือดออกที่เนื้อเยื้ออ่อน และการปวดข้อต่อขากรรไกร จึงได้ออกแบบ “อุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บในช่องปาก” ที่มีรูปร่างโค้งตามลักษณะขากรรไกร มีส่วนเว้าตรงกลางเป็นที่อยู่ของลิ้น ด้ามจับด้านหน้า มีลักษณะเป็นท่อกระบอกผ่าครึ่งซีก โดยมีความยาวที่ไม่ขวางหน้ากากดมยาและมีส่วนที่ยื่นออกมาสำหรับเป็นด้ามจับ มีปุ่มด้านข้างที่ปลายด้ามจับ มีช่องสำหรับให้สายดูดเสมหะผ่านเข้าออกได้ แท่นกัดมีขนาดครอบคลุมซี่ฟัน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่างๆ มีความหนาของอุปกรณ์เพื่อรองรับแรงกัดของฟันกรามใหญ่ ฟันกรามน้อย และฟันหน้า แนวกันเนื้อเยื่ออ่อนด้านใกล้ริมฝีปากมีความสูงจากแท่นกัดในแนวดิ่งสูงสุดบริเวณฟันตัดซี่ข้าง มีส่วนเว้าบริเวณริมฝีปากทั้งบนและล่าง

ระดับความพร้อมของเทคโนโลยี

——-Transfer

——-Prototype

——-Experimental

——-Initial

จุดเด่นเทคโนโลยี

ช่วยป้องกันไม่ให้ลิ้นหรือเนื้อเยื่อในลำคอหย่อนลงไปอุดกั้นทางเดินหายใจขณะหลับได้

บรรเทาการกรน และการหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น

ผู้สร้างผลงาน

ทพญ.นันทพร โรจนสกุล และคณะ

ผู้ประสานงาน : งานถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์

02-849-6056-7

athicha.soi@mahidol.edu