โครงสร้างตัวรับแอนติเจนแบบไคเมอริกขนาดสั้นของทีเซลล์

การรักษามะเร็งด้วยวิธี
เซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดที-เซลล์ แบบลูกผสมที่มีความจำเพาะต่อโปรตีนของเซลล์มะเร็งเต้านม

รายละเอียดผลงาน

     การรักษาโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยาที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การรักษาโดยการให้ยาเคมีบำบัด ส่งผลทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกายหรือก่อให้เกิดผลข้างเคียงในระยะยาว จึงได้มีการพัฒนาวิธีการรักษาด้วยเซลล์บำบัด (cellular therapy) สำหรับใช้ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดทีเซลล์ ซึ่งผู้ประดิษฐ์ได้พัฒนาโครงสร้างตัวรับแอนติเจนแบบไคเมอริกขนาดสั้น (short version of CAR construct) ของทีเซลล์ให้สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบจำเพาะสำหรับใช้ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดทีเซลล์โดยการรักษาด้วยการใช้เซลล์บำบัดเพื่อลดการใช้ยาเคมีได้

ระดับความพร้อมของเทคโนโลยี

——-Transfer

——-Prototype

——-Experimental

——-Initial

จุดเด่นเทคโนโลยี

ช่วยลดการใช้ยาทางเคมีกับผู้ป่วยให้เหลือน้อยที่สุด

สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยจากความเจ็บปวดจากผลกระทบจากยาทางเคมี และลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยได้

ผู้สร้างผลงาน

รศ.นพ.อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์ และคณะ

ผู้ประสานงาน : งานถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์

02-849-6056-7

athicha.soi@mahidol.edu