ถังขยะสำหรับคัดแยกยา

การรักษามะเร็งด้วยวิธี
เซลล์ภูมิคุ้มกันบำบัดที-เซลล์ แบบลูกผสมที่มีความจำเพาะต่อโปรตีนของเซลล์มะเร็งเต้านม

รายละเอียดผลงาน

            การคัดแยกขยะในปัจจุบันใช้หลักการของสีช่วยในการแบ่งประเภทของขยะ เช่น สีเขียว รองรับขยะอินทรีย์ที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ สีเหลือง รองรับขยะที่สามารถนำมารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ สีฟ้า รองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สำเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอยล์ที่เปื้อนอาหาร และสีแดง รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ ซึ่งยังไม่ครอบคลุมขยะบางประเภท เช่น ยาหมดอายุ และ ยาเหลือใช้ ทำให้มีการทิ้งปะปนกับมูลฝอยในครัวเรือนและถูกนำไปทิ้งต่อไปยังหลุมฝังกลบ ก่อให้เกิดการปนเปื้อนลงสู่ดินและน้ำบริเวณหลุมฝังกลบ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ระดับความพร้อมของเทคโนโลยี

——-Transfer

——-Prototype

——-Experimental

——-Initial

จุดเด่นเทคโนโลยี

สามารถคัดแยกยาหมดอายุและยาเหลือใช้เพื่อง่ายต่อการบริหารจัดการ ยาหมดอายุ และยาเหลือใช้

ลดการปนเปื้อนของยา และสารอันตรายลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำธรรมชาติ

ผู้สร้างผลงาน

ผศ.ดร.ภัทรานิษฐ์  ศรีจันทราพันธุ์และคณะ

ผู้ประสานงาน : งานถ่ายทอดเทคโนโลยีเชิงพาณิชย์

02-849-6056-7

athicha.soi@mahidol.edu