
รศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1.หุ่นยนต์ช่วยการผ่าตัด
2.ระบบนำทางการผ่าตัด
รศ.ดร.นรเศรษฐ์ ณ สงขลา

หัวหน้าภาควิชาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1.ระบบส่งยาจากพอลิเมอร์และการสร้างภาพระดับโมเลกุล
รศ.ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์

ผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
1.การเชื่อมต่อสัญญาณสมองด้วยคอมพิวเตอร์
2.การประมวลผลภาพ
3.การประมวลสัญญาณจีโนมิกส์
อ.ดร.เคตะ โอโน่

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1.ระบบหุ่นยนต์การแพทย์อัจฉริยะ
2.การผ่าตัดทางไกล
3.การจำลองทางการแพทย์
4.การจำลองไฟไนท์อิลิเมนท์แบบเรลไทม์
รศ.ดร.ปัณรสี ฤทธิประวัติ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1.โครงข่ายประสาทสำหรับการวินิจฉัยทางการแพทย์
2.Medical AI

ผศ.ดร.จำรัส พร้อมมาศ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1. การพัฒนาระบบของไหลระดับจุลภาค
2. ระบบวิเคราะห์รวมระดับจุลภาค
3. ไบโอเซนเซอร์ที่ใช้อุปกรณ์วัดสัญญาณชนิดต่างๆ เพื่อประยุกต์ในทางการแพทย์
ผศ.ดร.เบญจพร เลิศอนันตวงศ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
1. นาโนไบโอเซนเซอร์สำหรับการวินิจฉัยทางการแพทย์
2. DNA self-assembly
3. เคมีไฟฟ้า
4. การประยุกต์ใช้วัสดุนาโนสำหรับการตรวจวัด
5. Electrodeposition
6. Electrocatalysis

ศ.ดร. สุภา เพ่งพิศ

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน
1. Wellness and medial tourism
2. Healthy life styles and revitalization
3. Ageing society management
4. Health behavior interventions
5. Healthy workplace management
6. Obesity management
7. Social marketing and Food advertising
ผศ. ดร. ศริยามน ติรพัฒน์

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน
1. Ageing Research
2. Immigrant Health
3. Women Health

รศ.ดร.ชลัท ศานติวรางคณา

ผู้อำนวยการสถาบันโภชนาการ ศูนย์นวัตกรรมและการอ้างอิงด้านอาหารฯ
1. Probiotic
2. Functional food
3. pilot scale product research
ดร. วรงค์ศิริ เข็มสวัสดิ์

สถาบันโภชนาการ กลุ่มวิชาอาหาร
1. Probiotic,
2. Food product development,Saccharomyces cerevisiae and non-Saccharomyces yeasts on alcoholic
3. fermentation, Microbial interactions, Quantitative microbial risk assessment
4. Nitrogen preferences in yeast fermentation
5. Probiotic fermentation
ผศ. ดร. นัฐพล ตั้งสุภูมิ

สถาบันโภชนาการ กลุ่มวิชาอาหาร
1. Valorization of by-products and waste from food processing as functional food ingredients
2. Food product development for nutritional and medical purposes
3. Food colloids and emulsions, with specialization on coconut milk and dairy products
4. Food waste quantification and analysis
ผศ.ดร. ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์

สถาบันโภชนาการ ศูนย์นวัตกรรมและการอ้างอิงด้านอาหารฯ
1. ระบบอิมัลชันและการห่อหุ้มสารสำคัญในอาหาร การทดสอบความคงตัว การย่อย และการดูดซึมแบบจำลอง
2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับผู้ที่มีปัญหาการเคี้ยวกลืน และอาหารวัตถุประสงค์พิเศษ
3. การประยุกต์ใช้เซลลูโลส และนาโนเซลลูโลสในอาหาร
ผศ. ดร. ณัฐิรา อ่อนน้อม

สถาบันโภชนาการ กลุ่มวิชาอาหาร
1. Food product development for nutritional purpose
2. R&D ingredient
3. Product value added
4. การพัฒนาเมนูอาหารสำหรับกลุ่มผู้เป็นโรค(เบาหวาน,ความดัน)
5. การทำงานวิจัยร่วมกับชุมชนโดยการเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
ดร. ภมรินทร์ ไวเมลืองอรเอก

สถาบันโภชนาการ กลุ่มวิชาอาหาร
1.Sensory and consumer science
2.Sodium reduction strategy

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภก. จตุรงค์ ประเทืองเดชกุล

หัวหน้าภาควิชาจุลชีววิทยา
1. Molecular modeling in drug discovery and development
2. Biopharmaceutical research
3. Discovery of bioactive natural substances
4. Ageing research
5. Microbiological quality control of pharmaceuticals, herbal medicines, cosmetics and health products
รศ. ดร. ภญ. วิลาสินี หิรัญพานิช ซาโตะ

หัวหน้าภาควิชาเภสัชวิทยา
1. Pharmacological activities of drugs and phytomedicines
2. pharmacokinetic of herb-drug interaction in vitro and in vivo
รศ. ดร. ภญ. วีณา สาธิตปัตติพันธ์

หัวหน้าภาควิชาเภสัชวินิจฉัย
1. Phytochemistry of medicinal plants and marine organisms.
2. Design and semisynthetic of lead compounds from natural products
3. Metabolomic profiling study and quality control of medicinal plants and natural products
รองศาสตราจารย์ ดร.เฟื่องฟ้า อุตรารัชต์กิจ

ภาควิชาจุลชีววิทยา
1. Detection of pathogenic bacteria in food, water and environmental samples by culture and molecular biological method
2. Molecular epidemiology and antimicrobial resistance of food and waterborne bacteria
รองศาสตราจารย์ ดร.ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษม

หัวหน้าภาควิชาชีวสถิติ
1. Theory of Statistics
2. Biostatistical and Epidemiological Methods
3. Meta-Analysis, Meta-Regression, and Multi-center Studies
4. Mixture Models, Heterogeneity, Disease Mapping, and Applications
5. Capture-Recapture Methods and Models
6. Generalized Linear Models, Generalized Estimating Equations, and Mixed Models
7. Survival Methods and Modelling
รองศาสตราจารย์ ดร. สราวุธ เทพานนท์

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
1. Emission Inventory and air pollution modeling
2. Air quality monitoring and management
3. Air pollution control
4. Greenhouse gas management
5. Volatile organic compounds (VOC)
6. Acid deposition and trans-boundary air pollution